Line: @scidictplus
Tel: (+66)063 398 9446

 Thai-herb-@Scidictplus-444x444 Natural Raw Material

สมุนไพรไทย

จำหน่ายสมุนไพรไทย แห้ง-สด

 EX.-Chinese-herb-@Scidictplus-444x444 Natural Raw Material

สมุนไพรจีน

นำเข้า - จัดจำหน่าย สมุนไพรจีน

 สมุนไพรผง-444x444 Natural Raw Material

ผงสมุนไพร

สมุนไพรแห้งบดผง คุณภาพ ปลอดภัย ได้รับมาตรฐาน

สมุนไพรแห้ง

  1. กระเจี๊ยบแดง

  2. กระชายขาว

  3. กระชายเหลือง

  4. กระชายดำ (Black galingale)

  5. กระดูกไก่ดำ / ปีกไก่ดำ

  6. กระทือ

  7. กระเทียมกลีบอบแห้ง

  8. กระเทียมแห้ง

  9. กระพังโหม / ตดหมูตดหมา

  10. กระเพรา

  11. กรุงเขมา / เครือหมาน้อย

  12. กวาวเครือขาว

  13. กวาวเครือแดง

  14. กะเม็ง

  15. กะลัมพัก

  16. กันเกรา

  17. กานพลู

  18. กำแพงเจ็ดชั้น

  19. กำมะถันเหลือง

  20. กำยาน

  21. กำลังช้างสาร

  22. กำลังพญาเสือโคร่ง

  23. กำลังวัวเถลิง

  24. เก็กฮวยขาว

  25. เกสรทั้ง 5

  26. เกสรบัวหลวง

  27. เก๋ากี๊ เกรดธรรมดา (ทานสดไม่ได้) / M L

  28. แก่นขี้เหล็ก

  29. แก่นประดู่

  30. แก่นฝาง

  31. แก่นมะหาด

  32. แก่นสน

  33. แก่นแสมสาร

  34. แกแล

  35. โกญชฎามังสี

  36. โกฐกระดูก

  37. โกฐก้านพร้าว

  38. โกฐจุฬาลัมพา /ชิงเฮา

  39. โกฐทั้ง 5

  40. โกฐน้ำเต้า

  41. โกฐน้ำเต้า (ตั่วอึ๊ง)

  42. โกฐพุงปลา

  43. โกฐหัวบัว

  44. ขมิ้นชัน (เครื่องเทศ) (Tumeric)

  45. ขมิ้นชันไทย

  46. ขมิ้นอ้อย

  47. ขลู่

  48. ขันทองพยาบาท

  49. ข้าวเย็นใต้

  50. ข้าวเย็นเหนือ

  51. ขิงชิ้น

  52. ขิงแผ่น

  53. คนทา

  54. ครอบจักรวาล

  55. คาโมมาย

  56. โคกกระสุนแห้ง

  57. งาดำ

  58. จตุผลาธิกะ

  59. จันทน์ขาว

  60. จันทน์เทศ

  61. เจตพังคี

  62. เจตมูลเพลิงแดง

  63. เจีย/ เชีย/ เม็ดเชีย/ เม็ดเจีย/ เมล็ดเจีย

  64. เจียวกูหล่าน

  65. ชะลูด

  66. ชะเอมเทศ ท่อน

  67. ชะเอมไทย

  68. ชาเขียวใบหม่อน

  69. ช้าพลู ทั้งห้า

  70. ชิงชี่ / ชิงซี่

  71. ชุมเห็ดไทย

  72. ไซเลี่ยม ฮัสท์แห้ง

  73. ดอกกระเจี๊ยบ

  74. ดอกกระดังงา

  75. ดอกกุหลาบ

  76. ดอกคำไทย

  77. ดอกคำฝอย

  78. ดอกคำฝอย

  79. ดอกจันท์เทศ (รกจันทน์เทศ) เครื่องเทศ

  80. ดอกบุญนาค

  81. ดอกปีบ

  82. ดอกสารภี

  83. ดอกอัญชัญอบแห้ง (Butterfly pea)

  84. ดินสอพอง

  85. ดีบัว

  86. ดีปลี

  87. โด่ไม่รู้ล้ม

  88. ต้นเหงือกปลาหมอ

  89. ตรีผลา (Triphala)

  90. ตะโกนา

  91. ตะไคร้หอม (Lemon Grass)

  92. ใต้ใบ

  93. ถั่วเขียว

  94. เถาตำลึง

  95. เถาฟักข้าวแห้ง

  96. เถามวกขาว

  97. เถามวกแดง

  98. เถาเมื่อย

  99. เถารางจืด

  100. เถาวัลย์เปรียง (Jewel vine)

  101. เถาเอ็นอ่อน

  102. ทองพันชั่ง

  103. ทานาคา

  104. ทานาคาพม่า

  105. ท้าวยายม่อม

  106. เทพทาโร (ข่าต้น)

  107. เทียนเกล็ดหอย

  108. เทียนขาว

  109. เทียนทั้ง 5

  110. โทงเทง

  111. น้ำนมราชสีห์

  112. เนื้อในฝักคูณ

  113. บอระเพ็ด

  114. บอระเพ็ดพุงช้าง(ว่านสบู่เลือด)

  115. บานไม่รู้โรย

  116. ใบขี้เหล็ก

  117. ใบบัวบก

  118. ใบแปะก๊วย

  119. ใบฝรั่ง

  120. ใบมะขามแขก

  121. ใบมะขามแขก มีกลิ่นหอม ใหม่ (Alexandria senna)

  122. ใบมะขามไทย

  123. ใบมะรุม

  124. ใบยอ

  125. ใบรางจืด

  126. ใบส้มป่อย

  127. ใบสะเดา

  128. ใบสันพร้าหอม

  129. ใบหนุมานประสานกาย

  130. ปดงเลือด / ประดงเลือด

  131. ปลาไหลเผือก

  132. ปอกะปิด

  133. ปักคี้ / ปัคกี้

  134. เปราะหอม เครื่องเทศ

  135. เปลือกชะลูด

  136. เปลือกตะโกนา

  137. เปลือกทองหลาง

  138. เปลือกทิ้งถ่อน

  139. เปลือกมะพลับ

  140. เปลือกมะรุม

  141. เปลือกมังคุด

  142. เปลือกโมกมัน

  143. เปลือกลูกสำโรง

  144. ผักชีล้อม

  145. ผักเป็ดแห้ง/เป็ดแดงแห้ง

  146. ผักเสี้ยนผี

  147. ผิวมะกรูด

  148. ฝักมะขามแขก

  149. ฝักสัมป่อย

  150. แฝกหอม

  151. พรมมิ

  152. พริกไทยดำ

  153. พริกไทยดำ (เม็ด) เครื่องเทศ

  154. พริกหอม (ชวงเจีย) พริกไทยเสฉวนเครื่องเทศ เครื่องเทศ

  155. เพชรสังฆาต

  156. ไพล

  157. ฟ้าทะลายโจร

  158. ไฟเดือนห้า / มะไฟเดือนห้า

  159. มดยอบ

  160. มหาหิงค์

  161. มะขามป้อม

  162. มะเดื่อชุมพร / มะเดื่ออุทุมพร

  163. มะตูม

  164. ม้ากระทืบโรง

  165. มือเหล็ก / พญามูลเหล็ก

  166. เม็ดชุมเห็ด

  167. เม็ดมะรุม

  168. เมล็ดข่อย

  169. เมล็ดชุมเห็ดไทย

  170. เมล็ดแฟลกซ์

  171. ไม้กฤษณา

  172. ยาดำ

  173. ย่านางแดง

  174. ยาเบญจกูล

  175. ยาห้าราก (ยาเบญจโลกวิเชียร)

  176. รงทอง

  177. รากมะปราง

  178. รากย่านาง

  179. รากหญ้าคา(เหมาถึง)

  180. รายสามสิบ

  181. ลำพันแดง

  182. ลูกกระดอม

  183. ลูกกระเบา

  184. ลูกกระวาน หรือลูกกระวานขาว

  185. ลูกกระวานเขียว

  186. ลูกกระวานเทศ

  187. ลูกผักชี เครื่องเทศ

  188. ลูกพิลังกาสา

  189. ลูกมะเกลือ

  190. ลูกยอ

  191. ลูกราชดัด

  192. ลูกเร่ว

  193. ลูกสะบ้า

  194. ลูกสำรอง (Malva nut)

  195. โลดทะนงแดง

  196. ว่านชักมดลูก

  197. ว่านนางคำ

  198. ว่านน้ำ

  199. ว่านร่อนทอง

  200. ว่านสากเหล็ก

  201. ว่านหอมแดง

  202. ส้มกุ้งน้อย

  203. ส้มกุ้งใหญ่

  204. ส้มแขก

  205. สมอเทศ

  206. สมอไทย

  207. สมอพิเภก

  208. สมุนไพรครอบจักรวาล

  209. สมุนไพรชะมดเช็ด

  210. สมุนไพรดอกสายน้ำผึ้ง

  211. สมุลแว้ง

  212. สะค้าน

  213. สังกรณี

  214. สมุนไพรพุทราดำ

  215. เสลดพังพอนตัวเมีย

  216. หญ้าดอกขาว

  217. หญ้าฝรั่น (15 กรัม)

  218. หญ้ารีแพร์

  219. หญ้าลูกใต้ใบ

  220. หญ้าหวานอบแห้ง (Dried stevia)

  221. หนอนตายหยาก

  222. หมามุ่ย

  223. หล่อฮั้งก้วย

  224. หัวดองดึง

  225. หัวเต่าเกียด

  226. หัวบุก

  227. หัวร้อยรู

  228. หัวแห้วหมู

  229. หางไหลแดง

  230. เหง้าสับปะรด

  231. เหงือกปลาหมอ

  232. เห็ดหลินจือ

  233. แห้วหมู

  234. อบเชยเทศ

  235. อัญชัญ

  236. ฮ่อสะพายควาย

  237. แฮ่มแห้ง

  1. ผงกระชายขาว / กระชายเหลือ

  2. ผงกระชายดำ

  3. ผงกระเทียม

  4. ผงกระพังโหม / ตดหมูตดหมา

  5. ผงกระเพรา

  6. ผงกลัวยดิบ

  7. ผงกวาวเครือขาว

  8. ผงกวาวเครือแดง

  9. ผงกะเม็ง

  10. ผงกานพลู

  11. ผงกำแพงเจ็ดชั้น

  12. ผงกำลังช้างสาร

  13. ผงกำลังเสือโคร่ง

  14. ผงกำลังหนุมาน

  15. เผงกลือดำหิมาลัย

  16. ผงแก่นขี้เหล็ก

  17. ผงแก่นจันทน์เทศ

  18. ผงแก่นมะหาด

  19. ผงโกฐจุฬาลัมพา

  20. ผงโกฐน้ำเต้า

  21. ผงโกฐหัวบัว

  22. ผงโกบั๊ว

  23. ผงขมิ้นชันไทย

  24. ผงขมิ้นอ้อย

  25. ผงข้าวเย็นใต้

  26. ผงข้าวเย็นเหนือ

  27. ขิงผง

  28. ผงโคกกระสุน

  29. ผงจตุผลาธิกะ

  30. ผงจันทน์ขาว

  31. ผงจันทร์ชะมด

  32. ผงจินดามณี

  33. ผงเจียวกูหล่าน

  34. ผงชะเอมเทศ

  35. ผงชะเอมไทย

  36. ผงชาเขียวใบหม่อน

  37. ผงชุมเห็ดเทศ ทั้ง 5 บดผง

  38. ผงดอกคำฝอย

  39. ผงดีปลี

  40. ผงโด่ไม่รู้ล้ม

  41. ผงตรีผลา

  42. ผงตะโกนา

  43. ตะไคร้ผง

  44. ผงใต้ใบ

  45. ผงถั่วขาว

  46. ผงถั่วเขียว

  47. ผงเถาตำลึง

  48. ผงเถาฟักข้าว

  49. ผงเถามะระขี้นก

  50. ผงเถารางจืด

  51. ผงเถาวัลย์เปรียง

  52. ผงเถาเอ็นอ่อน

  53. ผงทองพันชั่ง

  54. ผงทานาคา

  55. ผงทานาคาพม่า

  56. ผงท้าวยายม่อม

  57. ผงเทพทาโร / ข่าต้น

  58. ผงเทียนเกล็ดหอย

  59. ผงน้ำนมราชสีห์

  60. ผงเนื้อมะขาม

  61. ผงบอระเพ็ด

  62. ผงใบเตย

  63. ผงใบบัวบก

  64. ผงใบแปะก๊วย

  65. ผงใบฝรั่ง

  66. ผงใบมะขามแขก

  67. ผงใบมะขามไทย

  68. ผงใบมะรุม

  69. ผงใบย่านาง

  70. ผงใบรางจืด

  71. ผงใบส้มป่อย

  72. ผงปลาไหลเผือก

  73. ผงเปล้าใหญ่

  74. ผงเปลือกข่อย

  75. ผงเปลือกมะรุม

  76. ผงกระเจี๊ยบแดง

  77. ผงกะหรี่

  78. ผงกำมะถันเหลือง

  79. ผงขลู่

  80. ผงคนทา

  81. ผงชะลูด

  82. ผงชิงชี่ / ผงชิงซี่

  83. ผงดินสอพอง

  84. ผงดีบัว

  85. ผงเปลือกมังคุด

  86. ผงเฮนน่า

  87. ผงผักเสี้ยนผี

  88. ผงผิวมะกรูด

  89. ผงฝักมะขามแขก

  90. ผงฝาง

  91. ผงพรมมิ

  92. พริกแดง

  93. ผงพริกไทยขาว

  94. ผงพริกไทยดำ

  95. ผงพลูคาว

  96. ผงเพชรสังฆาต

  97. ไพลผง

  98. ผงฟ้าทะลายโจร

  99. ผงมะขามป้อม

  100. ผงมะเดื่อชุมพร

  101. ผงมะตูม

  102. ผงม้ากระทืบโรง

  103. ผงยาห้าราก

  104. ผงรากย่านาง

  105. ผงรากสามสิบ

  106. ผงลูกมะระขี้นก

  107. ผงลูกยอ

  108. ผงว่านชักมดลูก

  109. ผงว่านนางคำ

  110. ผงส้มแขก

  111. ผงสมอเทศ

  112. ผงสมอไทย

  113. ผงสมอพิเภก

  114. ผงสมุลแว้ง

  115. ผงสะค้าน

  116. ผงแสมทะเล

  117. ผงหญ้าดอกขาว

  118. ผงหญ้าหวาน

  119. ผงหนอนตายหยาก

  120. ผงหมามุ่ย

  121. หัวบุกผง

  122. ผงหางไหลแดง

  123. ผงเหงือกปลาหมอ

  124. ผงเห็ดหลินจือ

  125. ผงแห้วหมู

  126. ผงอบเชยเทศ

  127. ผงอัญชัน

  128. ผงอินติโก

  129. แฮ่มผง

สมุนไพรที่เป็นพืชเศรษฐกิจ

     สมุนที่เป็นพืชเศรษฐกิจในประเทศไทยนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก ทั้งที่ใช้เป็นอาหารและนำมาใช้ปรุงเป็นยารักษาโรค ในหัวข้อนี้จึงขอยกรายชื่อมาให้ทราบพอสังเขป ดังนี้

  1. กระเจี๊ยบแดง

  2. กระชัน

  3. กระชาย

  4. กระดอม

  5. กระดูกดำ

  6. กระไดลิง

  7. กระแตไต่ไม้

  8. กระเบียน

  9. กระพังโหม

  10. กระเม็งตัวเมีย

  11. กรุงเขมา

  12. กัลป์พฤกษ์

  13. กัลปังหา

  14. กำแพงเจ็ดชั้น

  15. กำยาน

  16. กำลังเสือโคร่ง

  17. แก่นขนุน

  18. ขมิ้นเกลือ

  19. ขอนดอก

  20. ข้าวเย็น

  21. ครอบจักรวาฬ

  22. คูน

  23. จันทนา

  24. เจตมูลเพลิงขาว

  25. เจตมูลเพลิงแดง

  26. ชะพลู

  27. ชัยพฤกษ์

  28. ดองดึง

  29. ตะโกนา

  30. ตะไคร้บก

  31. ตะไคร้หางสิง

  32. ตานขโมย

  33. ตานดำ

  34. ตีนเป็ด

  35. เถาปล้อง

  36. เถาลิ้นเสือ

  37. เถาวัลย์เปรียง

  38. ทองพันช่าง

  39. เท้ายายม่อมดอกแดง

  40. เทียนดำ

  41. บอระเพ็ด

  42. บัวน้ำ

  43. บัวบกหัว

  44. บัวสาย

  45. ปะดู่ส้ม

  46. เปราะป่า

  47. เปราะหอมขาว

  48. ผักกาดนา

  49. ผักโขมหนาม

  50. ผักคราดหัวแหวน

  51. ผักบุ้งจีน

  52. ผักเป็ดแดง

  53. ผักเสี้ยนผี

  54. ผักหนาม

  55. ไผ่เหลือง

  56. ฝีหมอบ

  57. แฝกหอม

  58. พระขรรค์ไชยศรี

  59. พระจันทร์ครึ่งซีก

  60. มะเดื่อชุมพร

  61. ยาดำ

  62. ลิ้นงูเห่า

  63. เลือดแรด

  64. หญ้าชันกาด

  65. หญ้าไซ

  66. หญ้าตีนกา

  67. หญ้านาง

  68. หญ้านางแดง

  69. หญ้าน้ำนมราชสีห์

สมุนไพรตามคณาเภสัช (เภสัชกรรมไทย)
ตามตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป

 คณาเภสัช

คือ การจัดหมวดหมู่ตัวยาหลายสิ่งหลายอย่าง เป็นการศึกษาให้รู้จักพิกัดยา เพราะตัวยาตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไปนำมารวมกัน สามารถเรียกเป็นชื่อเดียว เรียกเป็นคำตรงตัวยา และเรียกเป็นคำศัพท์ได้ การจัดคณาเภสัชนี้ หากได้รับการรับรองให้เป็นตำรา เพื่อการศึกษาของคนรุ่นหลังจะต้องมีการประชุมเพื่อตั้งชื่อใหม่ ใช้เรียกชื่อหมู่ยานั้นๆ เป็นอย่างเดียวกัน ตามคำศัพท์หรือคำตรงต่อไป

การจัดหมวดหมู่ตัวยา เป็นกลุ่ม เป็นพวก ก็เพื่อความสะดวกแก่การจดจำ หรือเขียนตำรา ที่เรียกว่า “พิกัดยา” คือ การจำกัด หมายถึง “จำกัดจำนวน” ซึ่งจะเป็นจำนวนของสิ่งใดก็ตาม ที่ได้จำกัดจำนวนไว้แล้วจะเพิ่มหรือจะลดจำนวนที่จำกัดของสิ่งของนั้นไม่ได้ ในจำนวนที่จำกัดไว้ดังนี้ จึงสมมุตินามเรียกว่า พิกัด ถ้าจะนำไปใช้จำกัดสิ่งใด ก็เติมนามของสิ่งนั้นเข้าข้างท้ายคำว่าพิกัด เช่น พิกัดยา พิกัดอายุ พิกัดเดือน และพิกัดสมุฏฐาน เป็นต้น

สำหรับในพิกัดยาต่างๆ นั้น ตัวยาแต่ละสิ่งในพิกัดเดียวกัน ยังได้จำกัดส่วนหรือน้ำหนักของตัวยาไว้เท่า ๆ กัน เว้นแต่ในหมวดมหาพิกัด ซึ่งจำกัดส่วนของตัวยาไว้ไม่เท่ากัน แต่ก็อยู่ในขอบเขตของจำนวนที่ได้จำกัดไว้ และในการที่จะใช้น้ำหนักของยาที่คิดเป็นส่วนนี้ ถ้าจะทำเป็นยาต้มใช้น้ำหนักส่วนละ 1 บาท ถ้าจะทำป็นผงใช้น้ำหนักส่วนละ 1 สลึง ถ้าจะทำเป็นยาดองใช้น้ำหนัก ส่วนละ 1 เฟื้อง และถ้าจะทำเป็นยาแทรกก็ให้แทรกกึ่งส่วน

การจัดตั้งพิกัดยาขึ้นมานั้น ก็เพื่อสะดวกในการจดจำและเขียนตำรา ตลอดถึงความสะดวกในการปรุงยาและการที่จัดตั้งเป็นพิกัดแต่ละอย่างนั้น ก็มิได้ตั้งขึ้นตามความพอใจ แต่ผู้ที่จัดตั้งยาแต่แรกนั้น จะต้องมีหลักในการพิจารณา โดยอาศัยหลักดังนี้

  1. รสยาจะต้องไม่ขัดกัน
  2. สรรพคุณจะต้องเสมอหรือคล้ายคลึงกัน

ด้วยสาเหตุสองประการดังกล่าวมานี้ จึงจะรวมตัวยาเข้าเป็นพิกัดเดียวกันได้ พิกัดยาต่างๆ ที่จัดตั้งขึ้นมานั้น มีเป็นจำนวนมาก เพื่อที่จะให้สะดวก จึงได้ตั้งนามขึ้นมาใช้เรียกพิกัดยาแต่ละอย่าง เป็นชื่อตรงบ้าง เรียกชื่อเป็นศัพท์บาลีบ้าง ในคำศัพท์บาลีนั้น ถ้าแปลออกเป็นภาษาไทยแล้ว ก็จะได้ใจความไปตามจำนวนและสรรพคุณของพิกัดยานั้น


พิกัดยา ได้กำหนดแบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ
  1. จุลพิกัด หมายถึง การจำกัดจำนวนตัวยาน้อยชนิด โดยมากเป็นตัวยาที่มีชื่อเรียกอย่างเดียวกัน แต่จะมีข้อแตกต่างจากถิ่นที่เกิด ต่างกันที่สี ต่างกันที่ชนิด ต่างกันที่ขนาด ต่างกันที่รส เป็นต้น

  2. พิกัด หมายถึง การจำกัดจำนวนตัวยาตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไป รวมเรียกเป็นชื่อเดียวกันจะเป็นคำตรงหรือคำศัพท์ โดยที่ตัวยาที่นำมารวมกัน ต้องใช้น้ำหนักเสมอภาค คือ ขนาดน้ำหนักเท่ากัน

  3. มหาพิกัด หมายถึง การจำกัดจำนวนตัวยาหลายสิ่ง รวมเรียกเป็นชื่อเดียวกัน แต่ตัวยาแต่ละอย่างในมหาพิกัดมีน้ำหนักไม่เท่ากันเพราะเหตุว่ามหาพิกัดนี้ ท่านสงเคราะห์เอาไปแก้ตามสมุฏฐานต่างๆ คือ ใช้แก้ในกองฤดู กองธาตุกำเริบ หย่อน และพิการ โรคแทรกโรคตาม
 
Translate »
©2022 Copyright. Scidict Plus Co., Ltd. All rights reserved.
error: Content is protected !!